ประเพณีบุญกุ้มข้าวใหญ่

 ประเพณีบุญกุ้มข้าวใหญ่(บูชาแม่พระโพสพ) และของดีบ้านจาน

***************

ประเพณีบุญกุ้มข้าวใหญ่ของชาวอา เภอรัตนบุรี เป็ นประเพณี ที่สืบทอดกันมายาวนาน โดยชาวอีสานมีความเชื่อว่า การเก็บเกี่ยวข้าวขึ้นสู่ยุ้งฉาง มีความผูกพันกันแบบวิถีชุมชนของ คนไทอีสาน เริ่มจากการลงแขกดานา ลงแขกเกี่ยวข้าว จน กลายเป็นคาขวัญประจาของชาว อีสานซึ่งเป็ นคา ที่มีความหมายแสดงถึงความรักความ สามัคคี ควบคู่

นายบุญสิน ทีภูงา กานันตาบลทับใหญ่ เปิดเผยว่า ทางชุมชนวัดดอกจานรัตนาราม และ ชาวบ้านจาน จะได้จัดงานบูชาแม่โพสพหรือพระแม่โพสพ โดยถือคติความเชื่อที่ว่าเมื่อนาข้าว ในนาขึ้นสู่ยุ้งฉาง ควรจะมีการสรรเสริญบูชา และบวงสรวงคุณข้าวคุณน้า อันเป็ นความเชื่อ เกี่ยวกับเทพเจ้าหรือเทพาอารักษ์ เพราะข้าวมีคุณค่าอเนกอนันต์ต่อมวลมนุษย์ จนถือเป็นเทพเจ้า องค์หนึ่ง โดยเรียกเทพเจ้าองค์นี้ว่า“แม่โพสพเป็นเทวีแห่งข้าว”ชาวอีสานจะบูชาก่อนการลงมือ ทานา หรือระหว่างการตกกล้าและตลอดจนถึงการเก็บเกี่ยว เมื่อเก็บเกี่ยวข้าวเสร็จก็จะทาพิธี บายศรีข้าวที่ลานนวดข้าวที่เรียกว่า “พิธีรับขวัญข้าว”ชาวอาเภอบ้านไผ่ในพื้นที่ 10 ตาบล ได้จัด งานประเพณีบุญกุ้มข้าวใหญ่ ติดต่อกันมาทุก ๆ ปี การจัดงานจะใช้พิธีพราหมณ์ผสมผสานพิธี สงฆ์หรือพุทธเป็ นไปตามความเชื่อและประยุกต์นิยม ทั้งนี้ชาวบ้านไผ่เชื่อว่าการทา บุญด้วยข้าว จะได้บุญมหากุศลสูงสุด การ บริโภคข้าวให้ทาอย่างประหยัดได้ประโยชน์ เมื่อบริโภคอิ่มแล้วให้ ยกมือไหว้หรือบูชาเป็ นการแสดงออกถึงความกตัญญูรู้คุณ ข้าวที่เป็ นอาหารหลักของมนุษย์ นั่นเองประธานสภาวัฒนธรรมอาเภอบ้านไผ่ จึงได้ร่วมมือกันจัดงานประเพณี บูชาแม่พระ โพสพ อันเป็ นการจัดงานสืบสานประเพณีท้องถิ่น ใช้ชื่ออย่างเป็ นทางการว่า ประเพณีบุญกุ้ม ข้าวใหญ่และของดีอาเภอบ้านไผ่ในงานนอกจากจะมีพิธีกรรมทางศาสนาพุทธและพิธีพราหมณ์ เช่น การบายศรีสู่ขวัญข้าว การบูชาข้าว การราถวายเทวดาฟ้าดิน ยังมีการแสดงนาฏดนตรีอีสาน พื้นบ้าน

การจัดงานว่ามีเป้าหมาย คือ

.เป็นการอนุรักษ์จารีตประเพณีที่ดีงามสืบทอดต่อจากบรรพบุรุษ

. สร้างขวัญและกา ลังใจแก่ผู้ประกอบอาชีพทา นา และการเกษตรกรรม

. แสดงความรัก ความสามัคคี ประกอบการทาบุญประเพณี

นายโพธิ์โสมโมราทายกวัดกล่าวว่าจะมีการทาพิธีพราหมณ์บายศรีสู่ขวัญข้าวทุกปีเพราะชาวอีอีสานเชื่อว่าแม่พระโพสพมีอานาจที่สามารถดลบันดาลให้ข้าวเจริญงอกงามนาความอุดมสมบูรณ์มาให้ชาวนาที่บูชาเทวีแห่งข้าวด้วยเหตุนี้ชาวนาจึงมีพิธีบูชาแม่พระโพสพก่อนที่จะลงมือทานาหรือระหว่างตกกล้าจนข้าวตั้งท้องออกรวงไปจนถึงการเก็บเกี่ยวในที่สุดการทาพิธีบูชาแม่พระโพสพนั้นในสมัยต่อมานิยมทากันเมื่อเก็บเกี่ยวข้าวเสร็จแล้วนาข้าวมากองไว้กลางลานนวดแล้วทาพิธีบายศรีข้าวหรือเมื่อนวดข้าวเสร็จจะได้ข้าวเปลือกกองใหญ่กลางลานนวดชาวอีสานเรียกกองข้าวเปลือกใหญ่ว่ากุ้มข้าวใหญ่และจะทาพิธีทางพราหมณ์ตาประเพณีปฏิบัติของบรรพชนเรียกว่าพิธีรับขวัญข้าวเพราะถือคติความเชื่อว่าขณะที่เราทานาเกี่ยวข้าวและนวดข้าวเราใช้เท้าเหยียบย่าข้าวจึงมีความจาเป็นที่จะต้องร่วมทาพิธีบูชาแม่พระโพสพเพื่อขอขมาจะได้เป็นสิริมงคลต่อตนเองและครอบครัวให้มีแต่ความผาสุกทั้งนี้งานด้านวัฒนธรรมและประเพณีเป็นเรื่องของจิตใจที่มีความละเอียดอ่อนมากดังจะเห็นเป็นเรื่องเล่าเกี่ยวกับบุญกุ้มข้าวใหญ่ว่าการทาบุญด้วยข้าวจะได้บุญมหากุศลมากเมื่อครั้งพุทธกาลมีเรื่องเล่าว่ามีพี่น้องคนเป็นชายช่วยกันทานาเมื่อถึงช่วงข้าวเป็นน้านมน้องชายชวนพี่ทาข้าวมธุปายาสถวายพระภิกษุแต่พี่ชายตอบปฏิเสธไม่ทาจึงแบ่งนากันคนละส่วนพอน้องได้ส่วนของตนมาจึงทาทานถวาย 9 ครั้งคือช่วงข้าวเป็นน้านมทาข้าวมธุปายาสคือยาคูถวายช่วงข้าวเม่าทาข้าวเม่าถวายช่วงเวลาเก็บเกี่ยวเวลาจักตอกมัดเวลามัดฟ่อนข้าวเวลากองในลานเวลาทาลอมข้าวเวลาขึ้นยุ้งฉางเวลาเก็บในยุ้งฉางแล้วจนต่อมาผู้เป็นน้องได้เกิดในชาติตระกูลเป็นบุตรพราหมณ์มหาศาลมีนามว่าอัญญาโกณทัญญะและได้สาเร็จเป็นพระอรหันต์ก่อนสาวกทั้งปวงอีกทั้งยังได้เป็นปฐมสาวกที่ได้รับการยกย่องว่ารัตตัญญูคือผู้รู้ราตรีนานส่วนพี่ชายได้บังเกิดเป็นเพียงสุภัททปริพพาชกเท่านั้นเพราะทาทานน้อยกว่าน้องชายด้วยเหตุนี้ชาวอีสานจึงนิยมทาทานด้วยการทานข้าวนั่นเองฯ

เพิ่มคอมเมนต์ใหม่

ข้อความใหม่

รหัสป้องกันความปลอดภัย
รีเฟรช

xxxbom.com avthfull.com